บันทึกครั้งที่ 17

สรุปงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมเสรีตามแนวคิดไฮ/สโคป (High/Scope)


     การเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยเป็นการสร้างประสบการณ์ให้เด็กได้มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม หรือการที่เด็กได้เล่น ได้จับต้องสิ่งของ ได้จัดกระทำกับสิ่งต่างๆและทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์โดยใช้กิจกรรมเสรีตามแนวคิดไฮ/สโคป (High/Scope) เป็นกิจกรรมที่นักเรียนจะได้ลงมือปฏิบัติและเรียนรู้ด้วยตนเองมีความสุขและอยากเรียนคณิตศาสตร์เพื่อเป็นพื้นฐานสำหรับการศึกษาในระดับชั้นต่อไป การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีความ
    เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ มี 3 ชนิด คือ แผนการจัดประสบการณ์โดยใช้กิจกรรมเสรีตามแนวคิดไฮ/สโคป (High/Scope) จำนวน 16 แผน ใช้เวลาสอนแผนละ 50 นาที แบบวัดทักษะทางคณิตศาสตร์ ชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือก 1 ฉบับ จำนวน 20 ข้อ
  โดยสรุป แผนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์โดยใช้กิจกรรมเสรีตามแนวคิดไฮ/สโคป (High/Scope) มีคุณภาพจงสามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้


   
         

บันทึกครั้งที่ 16

วันอังคารที่ 19 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2556

กิจกรรมการเรียนการสอน

   -อาจารย์ให้เเสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรายวิชานี้
1.ความรู้ที่ได้รับมีอะไรบ้าง
   -ได้รู้วิธีการเรียนการสอนที่ถูกต้องเเละรู้ความหมาย ควาสำคัญ
   -ได้รู้วิธีการจัดกิจกรรมที่ถูกต้อง

2.ทักษะที่ได้มีอะไรบ้าง
   -ได้ทักษะวิธีการสอน
   -ได้รู้วิธีการทำสื่อ

3.วิธีการสอน
  -อาจารย์จะจัดการเรียนการสอนเเบบบรรยายเเละการลงมือปฎิบัติจริง เเละมีการใช้สื่อที่หลากหลาย

บันทึกครั้งที่ 15

วันอังคารที่ 12 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2556

กิจกรรมการเรียนการสอน

สอบสอน
หน่วยอวัยวะภายนอกของร่างกาย

วันที่1
ส่วนประกอบของอวัยวะภายนอก(นางสาวชวนชม)

     -การใช้คำถาม
     -เด็กๆอวัยวะภายนอกมีอะไรบ้างค่ะ
     -เด็กๆรู้จักอวัยวะภายนอกอะไรบ้างค่ะ
     -เด็กๆบอกครูได้ไหมว่าอวัยวะภายนอกของเด็กๆมีอะไรบ้างค่ะ


สิ่งที่ต้องปรับ

      -ต้องมีภาพมาแปะใช้คำเขียนไม่ได้
      -ต้องเขียนชื่ออวัยวะภายนอกให้ครบ ถ้าเด็กตอบไม่ครบก็ต้องเขียนให้ครบ

วันที่2

 เรื่องลักษณะของอวัยวะภายนอก(นางสาวรัตติยา)

สิ่งที่ต้องปรับ

       -เราไม่จำเป็นต้องเอามาทุกอย่าง
       -ให้เด็กสังเกตอวัยวะของเพื่อน(สังเกตจากของจริง)
       -ให้เด็กๆดูรูปร่างของเพื่อนเเละสัมผัส สี พื้นผิว รูปทรง

วันที่ 3

 เรื่อง หน้าที่ของอวัยวะภายนอก (นางสาวนีรชา)

สิ่งที่ต้องปรับ

       -เพิ่มการร้องเพลง
       -ควรทำมายเเม็ฟ และมายแม็ฟต้องมีภาพติดแทนสัญญลักษ์
       -บอกหน้าที่ของอวัยวะในเพลงหลังจากนั้นค่อยบอกส่วนอื่นๆ

-สรุปคืออวัยวะมีหน้าที่เเตกต่างกัน


วันที่ 4

 เรื่อง ประโยชน์ของอวัยวะภายนอก (นางสาวจุฑามาศ)
สิ่งที่ต้องปรับ

       -ต้องบอกให้ถึงประโยชน์ เช่น มือที่ให้เราสามารถถือของจากตลาดไปให้แม่ที่บ้านได้ มือสามารถทำอาหารให้เรากินได้

วันที่ 5

 เรื่อง การดูแลรักษาอวัยวะภายนอก (นางสาวสว่างจิตร์)

สิ่งที่ต้องปรับ

        -ต้องหาภาพที่เกี่ยวกับการดูแลรักษาอวัยวะภายนอก
        -สอนสิ่งที่ไม่มีโอกาสทำในห้องเรียน

บันทึกตรั้งที่ 14

วันอังคารที่ 5 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2556

กิจกรรมการเรียนการสอน

สอบสอนกลุ่มที่4
หน่วยเรื่องกระดุม
 วันที่ 1

  นำเข้าสู่บทเรียนโดย
    1.  ครูร้องเพลง    
    2.ครูเเจกภาพที่เป็นจิกซอ รูปกระดุม ให้เด็กเป็นบางคน
    3. .ให้เด็กนำภาพที่ได้มาต่อหรือวางให้เกิดเป็นภาพที่สมบูรณ์
    4. เด็กๆบอกคุณครูซิค่ะว่า เป็นภาพอะไร
ชนิดของกระดุม
   - กระดุมที่เด็กๆรู้จักมีอะไรบ้างค่ะ เด็กบอกเเละครูก็เขียนตามที่เด็กบอกไว้บนกระดาน
เด็กๆอยากทราบไหมค่ะว่าในขวดนี้มีกระดุมทั้งหมดกี่เม็ด
(อยู่ในการคาดคะเน คือการวัดเเบบไม่เป็นทางการ)
- ครูนับกระดุมในขวด
1 2  3 4 5 6 7 
ลักษณะของกระดุม
กระดุมโลหะ กับ กระดุมอโลหะ จะรู้ได้อย่างไรก็ใช้เเม่เหล็กมาดูด

วันที่ 2
  -ครูส่งกระดุมให้เด็กๆดู

วันที่ 3
  -ถามประโยชน์ของกระดุมว่ามีประโยชน์อย่างไร

วันที่ 4
   -การดูเเละรักษากระดุม
   -การนับเเละจับสีของกระดุม

บันทึกครั้งที่ 13

วันอังคารที่ 29 เดือน มกราคม พ.ศ.2556

กิจกรมมการเรียนการสอน

วันนี้เรียนร่วมทั้ง 2 กลุ่ม เพราะอาจารย์นัดคุยเรื่องกิจกกรรมของคณะศึกษาศาสตร์โดยมีความรายละเอียดดังนี้

   - รำไทย (นางสาวสว่างจิตร์)
   -ร้องเพลง(นางสาวรัตติยา)
   -พิธีกร(นางสาวปราณิตา เเละนางสาวรุ่งนภา)
   -โฆษณา(นางสาวนิศาชลเเละนางสาวละไม)

การเเสดงโชว์
    -ลิปซิ้งเพลง(นางสาวจุฑามาศเเละนางสาวนีรชา)
    -เต้นประเพลง(นางสาวพลอดปภัส นางสาวเกตวดีเเละนางสาวมาลินี)
    -ละครใบ้(นางสาวอัจฉราเเละนางสาวจันทรสุดา)
    -ละครตลก(นางสาวดาราวรรณ นางสาวชวนชม เเละนางสาวณัฐชา)

ผู้กำกับหน้าม้า
    -นางสาวนฎาเเละนางสาวพวงทอง

เเละอาจารย์ถามว่าเนื้อหาที่เรากล่าวมาทั้งหมดนี้เราสามารถนำมาปรับใช้ในการจัดประสบการณ์ได้อย่างไรบ้าง
        

บันทึกครั้งที่ 12

วันอังคารที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ.2556

กิจกรรมการเรียนการสอน

เเต่ละกลุ่มออกมานำเสนอหน่วยของตนเอง

หน่วยเรื่องขนมไทย
วันที่ 1

จับคู่
- ภาพกับคำ เเละภาพกับตัวเลข
-รูปภาพกับรูปภาพ
-ความสัมพันธ์สองแกน

การเเยกประเภท
-ขนมชั้น รูปทรงสี่เหลี่ยมจตุรัส
-ขนมถ้วยรูปทรงกลม
-ขนมเม็ดขนุนรูปวงรี

วันที่ 2

การเเยกประเภทของขนม
นับจำนวน
จับคู่ภาพ

หน่วยเรื่องข้าว
วันที่ 1
ส่วนประกอบของต้นข้าว
ลักษณะของต้นข้าว
     -เมล็ดข้าวสารเจ้า
     -เมล็ดข้าวสารเหนียว
     -เมล็ดข้าวเหนียวดำ

วันที่2
การเก็บรักษาข้าว เพื่อไว้กินนานๆ ป้องกันมอด
ภาชนะที่เก็บข้าวมาให้เด็กดู

- ถัง
- กระบุง
- กระสอบ
- ยุ้งฉ่าง

รูปเรขาคณิตของภาชนะเก็บรักษาข้าว
-วงกลม  -สามเหลี่ยม  -สี่เหลี่ยมจัตุรัส  -สี่เหลี่ยมพื้นผ้า -ทรงกระบอก
ที่เก็บข้าวมี4 ชนิด
-เก็บข้าวไว้ในถังเด็กๆเก็บไว้ที่บ้าน
- เก็บไว้ในกระสอบเก็บเพื่อเราจะเอาไปขาย 
-ยุ้งฉ่างไว้เก็บข้าวเปลือก

หน่วยเรื่อง กล้วย
ชนิดของกล้วย
ชื่อของกล้วยเเต่ล่ะชนิด
ข้อควรระวัง
   - ผูกเรื่องเป็นนิทาน
   -ต้นกล้วยอยู่หลังบ้าน (ตำเเหน่ง)
   -เดินไปสวนหลังบ้านผ่านอะไรบ้าง
   -เอาไม้มาพยุงต้นกล้วยให้มันสูงขึ้น (สูง-ต่ำ)
   -ล้อมรั่วไม่ให้กล้วยหาย (พื้นที่)

การขยายพันธ์กล้วย
-ใช้กระดาษวัด ตัดกระดาษเป็นรูปมือ
-ขุดดิน เอาหน่อกล้วยมาปลูก พรวนดิน รดน้ำ
-ใน1เเถวมีต้นกล้วยกี่ต้น
-เเบ่งกลุ่มที่ขยายพันธ์กล้วยได้มากที่สุด

บันทึกครั้ง 11

วันอังคารที่ 15 เดือนมกราคม พ.ศ.2556

กิจกรรมการเรียนการสอน

        วันนี้อาจารย์สอนหน่วยเรื่องขนมไทย

          -การใช้คำถามกับเด็ก เช่น ขนมไทยที่เด็กๆรู้จักมีอะไรบ้างค่ะเเล้วเด็กๆรู้จักขนมไทยไหมค่ะ
ไหนเด็กๆลองบอกสิค่ะว่าขนมไทยที่คุณครูนำมาให้เด็กๆดูมีรูปน่างคล้ายกับอะไรบ้าง มีลักษณะอย่างงไรบ้างค่ะ

บันทึกครั้งที่ 10

วันอังคารที่ 8 เดือนมกราคม พ.ศ.2556

กิจกรรมการเรียนการสอน

สถาบันการสอนวิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยี (สสวท)
มาตราฐานการเรียนรู้เเละตัวชี้วัดคณิตศาสตร์สำหรับปฐมวัย

สาระที่1 จำนวนเเละการดำเนินการ

จำนวน คือ ค่าการนับตัวเลข
การดำเนินการ คือ การเข้าใจถึงคามหลากหลายของการเเสดงจำนวนเเละการใช้จำนวน

สาระที่ 2 การวัด

ปริมาณ ระยะ เมตร เซนติเมตร เเละสิ่งที่เรานึกถึงสามารถเเบ่งออกได้เป็น คือ
1.เครื่องมือในการวัด
2.ค่าปริมาณ

สาระที่ 3 เรขาคณิต

คือ รูปทรงต่างๆ เช่น ทรงกลม กระบอก สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม คางหมู วงรี
การบอกตำเเหน่ง เช่น ซ้าย ขวา บน ล่าง หน้า หลัง บน ล่าง
ทิศทาง เช่น ทิศเหนือ กลาง ใต้ ตะวันออก
ระยะทาง เช่น ปริมาณ ค่า ตัวเลข เครื่องมือ หน่วย

สาระที่ 4 พีชคณิต

คือ เข้าใจความสัมพันธ์เเละรูปแบบ เซต ชุด

สาระที่ 5 การวิเคาระห์ข้อมูลเเละความน่าจะเป็น

เลือกหน่วยที่ใกล้ตัวเด็กมากที่สุดเเละให้เด็กได้เรียนรู้จากของจริง ภาพจริง

สาระที่ 6 ทักษะเเละกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

บันทึกครั้งที่ 9

วันอังคารที่ 1 เดือนมกราคม พ.ศ.2556

หมายเหตุ:ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นวันหยุดวันปีใหม่

บันทึกครั้งที่ 8

วันอังคารที่่ 25 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2555

หมายเหตุ: ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากมีการสอบกลางภาค

บันทึกครั้งที่ 7

วันอังคารที่ 18 เดือน ธันวาคม พ.ศ.2555


หมายเหตุ:วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากมีงานกีฬาสีบุคลากร

บันทึกครั้งที่ 6

วันอังคารที่ 11 เดือน ธันวาคม พ.ศ.2555

กิจกรรมการเรียนการสอน
         - อาจารย์ให้นำกล่องที่เตรียมมาของเเต่ละคน เเล้วถามว่ากล่องที่นักศึกษานำมามีลักษณะอย่างไร คล้ายกับอะไร  เเล้วนอกจากกล่องรูปร่างนี้ยังมีกล่องที่รูปร่างแปลกๆไปอีกไหม
          -เห็นกล่องนี้เเล้วนึกถุงอะไรบ้าง
          -อยากให้กล่องเป็นอะไร
          -กล่องนอกจากจะใช้ใส่ของเเล้วอยากใช้เป็นอะไรได้อีกบ้าง
          -ทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้นอาจารย์สอนเกี่ยวกับการใช้คำถาม
หน่วย เรื่อง กล่อง
 เชื่อมโยงกับคณิตศาสตร์
         1.รูปทรง
         2.ขนาด
         3.พื้นที่
         4.ประเภทของกล่อง
         5.การวัด
         6.จำนวน
         7.การเปรียบเทียบขนาด
         8.การจับคู่รูปทรง
         9.การจัดประเภท
        10.ทำตามเเบบ
        11.เซต
        12.เศษส่วน
        13.การอนุรักษ์

กิจกรรม

        -อาจารย์ให้นำกล่องของเเต่ละคนนำมาประกอบเป็นกลุ่มย่อยๆ เเละจากนั้นให้นำผลงานของเเต่ละกลุ่มมารวบรวมกันทำออกเป็นชิ้งงานของห้อง 1ชิ้น








บันทึกครั้งที่ 5

วันอังคาร ที่ 4 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2555

กิจกรรมการเรียนการสอน

        นำเสนอผลงานของเเต่ละกลุ่มที่ได้ทำ พร้อมทั้งเเก้ไขข้อผิดพลาดของกลุ่มตนเองให้ถูกต้อง

งานที่ได้รับมอบหมาย

         ให้เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ โดยหน่วยของเเต่ละกลุ่ม กลุ่มของดิฉัน หน่อย อวัยวะภายนอกร่างกาย โดยมี5วัน