บันทึกครั้งที่ 4

วันอังคาร ที่ 27 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2555

กิจกรรมการเรียนการสอน
-ทำมายเเมป์ของหน่วยตัวเอง หน่วย...อวัยวะภายนอกร่างกาย
เเล้วอาจารย์ก็ถามว่าลักษณะของ My mapper มีลักษณะอย่างไร
-เเละเวลาทำงานเราควรถ่ายเอกสารเก็บเอาไว้เป็นของเราเอง

พรีเซนต์งานกลุ่ม
กลุ่มที่ 2 หน่วย บ้าน

-บ้านหลังนี้มีหน้าต่างกี่บาาน (การนับ)
-บ้านหลังนี้มีบันได 12 ขั้น เเล้วบ้านของเด็กๆมีบันไดกี่ขั้นค่ะ (ตัวเลข)
-นักเรียนจับคู่บ้านที่มีหน้าต่างสี่เหลี่ยมเหมือนกันสิค่ะ (การจับคู่)
-บ้านของเธอใหญ่กว่าบ้านของฉัน (การเปรียบเทียบ)
-ในตอนเช้าฉันทำความสะอาดห้องนํ้าเเละในตอนบ่ายฉันก็ไปทำความสะอาดห้องนอน (การเรียงลำดับ)
-เด็กๆคิดว่าส่วนประกอบของบ้านมีรูปทรงอะไรบ้างค่ะ (รูปทรง)
-บ้านของฉันห่างจากบ้านของเธอ 50 ก้าว (การวัด)
-เด็กๆลองหยิบจัดชุดกาแฟให้คุณครูสัก 2 ชุดสิค่ะ (เซต)
-บ้านของฉันยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง ส่วนที่1 เลี้ยงปลา ส่วนที่2 ปลูกต้นไม้เเละปลูกผัก ส่วนที่3 เลี้ยงวัว (เศษส่วน)
-มีบ้านอยู่ครึ่งหนึ่งเด็กๆลองวาดภาพบ้านให้เสร็จสมบูรณ์สิค่ะ (การทำตามเเบบ)
-บ้านสร้างมา 20 ปีเเต่สภาพบ้านยังคงเดิม โดยอาจจะให้เด็กๆปั้นรูปบ้านตามจิตนาการก็ได้ (การอนุรักษ์)

กลุ่มที่3 หน่วยเเมลง

-นับจำนวนขาเเมลงเเต่ละชนิด (การนับ)
-หมายเลข1เเทนจำนวนเเมลง (ตัวเลข)
-จับคู่ภาพเหมือนที่มีตัวเลขเหมือนกัน หรือ จับคู่ภาพที่มีเเมลงจำนวนเท่ากัน (การจับคู่)
-จัดประเภทสีของเเมลงที่เหมือนกัน (การจัดประเภท)
-ให้เปรียบเทียบขนาดของเเมลงเเต่ละชนิด (การเปรียบเทียบ)
-เรียงลำดับเเมลงที่มีขนาดเล็ก ไปหาเเมลงที่มีขนาดใหญ่ (การเรียงลำดับ)
-เอารูปแมลงเเต่ละชนิดมาให้เด็กสังเกตเเล้วถามเด็กว่าเเมลงที่เด็กๆเห็นมีรูปทรงอย่างไรค่ะ (รูปทรง)
-ให้เด็กๆวัดลำตัวของเเมลง (การวัด)
-มีเเมลง 10 ตัว เเบ่งออกเป็น2ส่วนเท่าๆกัน (เศษส่วน)
-ให้เด็กๆสังเกตภาพตัวอย่าง เเล้วให้ต่อจิ๊กซอตามเเบบ (ตามเเบบ)
-สังเกตเเมลงที่วางเยื่องกัน (การอนุรักษ์)

กลุ่มที่4 หน่วยกุหลาบ
-

บันทึกครั้งที่ 3

วันอังคารที่ 20 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2555

เนื้อหาที่ได้รับ
               -การเขียนมายเเมปควรจัดวางเเละวางเเผนการเขียนให้ดีๆ ก่อนที่จะลงเเผ่นจริง
               -คุยเรื่องBlog เรื่องงานวิจัยต่างๆ
               -Comment การบ้านที่ให้ไปทำมาเป็นกลุ่ม
               -กลุ่มข้อนิฉัน เรื่อง ร่างกาย

หัวข้อหน่วยที่เพื่อนเลือกทำ
1.เเมลง
2.กล้วย
3.กุหลาบ
4.อวัยวะร่างกาย
5.ข้าว
6.นาฬิา
7.ขนมไทย
8.ผลไม้
9.ยานพาหนะ
10.กระดุม
การนับ

           อาจารย์นิตยา   เดชะคุป  2541 :17-79

1.การนับ (Counting)
2.ตัวเลข (Number)
3.การจับคุ่ (Mateting)
4.การจัดประเภท (Classification)
5.การเปรียบเทียบ (Compaarning)
6.การจัดลำดับ (Ordering)
7.รูปทรงเเละพื้นที่ (Shape and Space)
8.การวัด (Measurement)
9.เซค (Set)
10.เศษส่วน (Fraction)
11.การทำตามเเบบหรือตามลวดลาย (Patterning)
12.การอนุรักษ์ หรือ การคงที่ด้านปริมาณ (Conservation)

งานที่ได้รับมอบหมาย
 ต่อจากงานที่เเล้ว หน่วยร่างกาย ให้ไปคิดคร่าวๆว่าเข้าในหลักวิทยาสาสตร์อย่างไร







บันทึกครั้งที่ 2

วันอังคารที่ 13 เดือนพฤศจิการยน พ.ศ.2555

การเรียนการสอน

    -อาจารย์จ๋าให้วาดรูปสัญลักษณ์ของตนเอง
    -ภาษาเเละคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย

    ในการจัดกิจกรรมประสบการณ์สำคัญให้กับเด็กปฐมวัย
     -ไม่จำเป็นจะต้องเรียนตามในตำราหรือหนังสือ เเต่จะให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติเองเช่นเกมการศึกษา
            - ลอตโต้ คือ การสังเกตลายละเอียด
            - โดนิโน คือ การต่อปลายที่มีภาพเหมือนกัน
            - จิ๊กซอ คือ ภาพที่ต่อให้เกิดภาพที่สมบูรณ์
            - เกมเรียงลำดับ (จำนวน เหตุการณ์ เชื่อมโยง วงจร)

งานที่ได้รับมอบหมาย
          -จัดกลุ่ม กลุ่มล่ะ 5 คน ให้คิดหน่วยการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย (คณิตศาสตร์)

บันทึกครั้งที่ 1

วันอังคาร ที่ 6 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2555

การเรียนการสอน

ปฐมนิเทศ
   -เรื่องการเเต่งกาย 
   -การเข้าเรียน
   -การทำ Blogger (อาจารย์จินตนาจะตรวจ Blog ทุกๆสัปดาห์ของวันศุกร์)
 

 อาจารย์ได้ให้ทำงานในกระดาษโดยให้คำถามว่า
     -คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยในความเข้าใจของนักศึกษาคืออะไร
           ตอบ คือสื่อที่สามารถปูพื้นฐานฝึกทักษะในเรื่องของคณิตศาสตร์

    -ในวิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยเรียนเเล้วรู้อะไรบ้าง
           ตอบ -สาระสำคัญ
                    -ประสบการณ์ในการสอน
                    -สามารถนำไปประยุกต์ในการเรียนการสอนต่อไปได้